คำชี้แจงจากวัดพระธรรมกาย 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 เวลา 10.00 น.
เมื่อโลกเข้าสู่ช่วงกัปไขลง
กัปไขขึ้น - ไขลงหมายความว่าอย่างไร ? ระยะเวลาของกัปยาวนานเพียงใด ? ถ้าอยากเกิดในยุคนั้นควรปฏิบัติตัวอย่างไร ? ..........
การเป็นนักสร้างบุญบารมี
ทางมาแห่งบุญ หรือวิธีการเพื่อให้ได้บุญมาขจัดอุปสรรคของชีวิต เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ คือ สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือเรื่องที่จัดเป็นการทำบุญ เป็นหนทางในการทำความดีหรือเป็นทางมาแห่งบุญ มี ๓ ประการ คือ
พิธีบรรพชาอุปสมบทหมู่พระพี่เลี้ยงรุ่นเข้าพรรษา
สำนักเผยแผ่ วัดพระธรรมกาย ร่วมกับกองพิธีกรรมงานบวช จัดพิธีบรรพชาอุปสมบทหมู่พระพี่เลี้ยงเข้าพรรษา ณ อุโบสถวัดมงคลพุการาม จังหวัดปทุมธานี
ลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ
ลักษณะมหาบุรุษของพระพุทธเจ้ามี ๓๒ ประการ คือ พระพุทธเจ้ามีพระบาททั้งสองประดิษฐานเรียบสนิท พื้นใต้ฝ่าพระบาทของพระองค์มีลายคล้ายจักร เพราะพระองค์เป็นผู้นำธรรมจักรให้หมุนไป ยังสรรพสัตว์ให้ได้บรรลุมรรคผลนิพพานนับไม่ถ้วน พระพุทธองค์มีส้นพระบาทยาวสมส่วนกลมงาม มีพระองคุลี คือนิ้วมือเรียวงามเหมือนลำเทียน แต่ละนิ้วยาวเท่าๆ กันสมบูรณ์ด้วยพละกำลัง มีฝ่าพระหัตถ์และฝ่าพระบาทอ่อนนุ่ม ทั้งฝ่าพระหัตถ์และฝ่าพระบาทมีลายเหมือนตาข่ายสวยงามมาก
หลุดพ้นจากสังสารวัฏ
ท่านพิจารณาเห็นธาตุทั้งหลายว่าเป็นทุกข์แล้ว อย่าเกิดอีก ท่านสำรอกความพอใจในภพแล้ว จงเป็นผู้สงบระงับเที่ยวไปเถิด
โสฬสญาณ
นรชนผู้มีปัญญา ตั้งมั่นแล้วในศีล อบรมจิตและปัญญา ให้เจริญอยู่ เป็นผู้มีความเพียร มีปัญญารักษาตนรอด ภิกษุนั้นพึงถางชัฏนี้
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
ถึงพระรัตนตรัยได้ไปสวรรค์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้น พระวิปัสสีพุทธเจ้าผู้เสด็จหลีกออกเร้นอยู่ในที่ลับ ได้ทรงพระปริวิตกเช่นนี้ว่า โลกนี้ถึงความยาก ย่อมเกิด แก่ ตาย และเวียนตายเวียนเกิดไม่รู้จบ ก็บุคคลไม่รู้ชัดถึงอุบายเครื่องพ้นทุกข์ คือ ชราและมรณะ การพ้นทุกข์ คือชราและมรณะนี้ จักปรากฏแต่เมื่อไร
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม