มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”
ชนสันธชาดก ชาดกว่าด้วยเหตุที่ทำจิตให้เดือดร้อน
ครั้งหนึ่งพระเจ้าโกศลทรงมัวเมาด้วยพระราชอิสริยยศหมกหมุนอยู่ในความสุขที่เกิดแต่กิเลสไม่ปรารถนาจะว่าราชการ ไม่ตัดสินคดีความแม้การบำรุงพระศาสดาและพระพุทธศาสนา พระบรมศาสดาจึงทรงให้โอวาทเตือนสติแก่พระเจ้าโกศลมิให้ทรงอยู่แต่ในความประมาท
กุมมาสปิณฑชาดก ชาดกว่าด้วยอานิสงส์ถวายขนมกุมมาส
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรหนอเป็นเหตุ เป็นปัจจัยในการแย้มสรวลของพระองค์ ” “ ดูกร อานนท์ กุมาริกาผู้นี้จักได้เป็นอัครมเหสีของพระเจ้าโกศลในวันนี้ทีเดียว เพราะผลแห่งการถวายก้อนขนมกุมมาสเหล่านี้ ”
พันธนโมกขชาดก ชาดกว่าด้วยการหลุดพ้นจากเครื่องผูกมัด
อดีตกาลอันไกลออกไป ยังมีอัครเหสีผู้สมบูรณ์พร้อมในอิตถีลักษณ์ ชวนหลงไหล บำรุงบำเรอสุขแก่พระเจ้ากาสี อยู่ในพาราณสีนครหลวง “ หญิงสวยอย่างเรา แม้แต่พระเจ้ากาสีก็ยังหลงไหล ฮึ แล้วมีรึ ชายหนุ่มอื่นใดจะไม่ต้องการ
ฉัททันตชาดก ชาดกว่าด้วยพญาช้างฉัททันต์
“ พรานเอ๋ย นางผู้นั้น ละวางพยาบาทได้ก็ด้วยชีวิตเรา จงเลื่อยเอางาของเราไปเถิด ” การสิ้นกรรมในชาติภพนั้น พญาฉัททันต์ทนเจ็บปวดเป็นที่เวทนาการ จนเมื่อพรานนำงาคู่ไปถึงกาสิกกรัฐ แล้วพญาช้างก็ขาดใจตาย
อัสสกชาดก ชาดกว่าด้วยพระเทวีอุพพรีเกิดเป็นด้วงขี้ควาย
ณ นครสาวัตถี มีภิกษุรูปหนึ่งเมื่อได้บวชแล้วก็ไม่สามารถตัดกิเลสได้ แต่ละวันได้แต่คิดถึงภรรยาจนไม่สามารถปฏิบัติกิจสงฆ์ได้
มหาโมรชาดก ชาดกว่าด้วยพญานกยูงพ้นจากบ่วง
ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาได้แผ่ขยายออกไปกว้างใหญ่ไพศาล ประชาชนล้วนหลั่งไหลให้พระธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวชีวิต บ้างก็ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้ทำดี ครั้งนั้นได้มีหนุ่มรูปงามที่ตั้งใจจะละจากกิเลสทั้งปวง ออกบวชมุ่งปฏิบัติธรรม เพื่อตรัสรู้แจ้งแห่งธรรม การงานใดที่เป็นกิจของสงฆ์ ภิกษุหนุ่มนี้ ปฏิบัติได้ดีไม่มีขาด ว่างจากกิจก็นั่งสมาธิตั้งอานาปานสติ
คำว่า “ดุสิตบุรี”มีในพระไตรปิฎกหรือไม่ ?
คำว่า “ดุสิตบุรี”มีในพระไตรปิฎกหรือไม่ ? หรือพวกวัดพระธรรมกายบัญญัติขึ้นมาล่อชวนคนทำบุญเพื่อให้อยากขึ้นสวรรค์?
อุทยชาดก ชาดกว่าด้วยบารมี 10 ทัศ
พระเจ้ากาสีทรงอภิเษกพระราชโอรสอุทัยภัทรและพระราชธิดาอุทัยภัทราซึ่งเป็นบุตรของตนทั้งสองพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาประทับอยู่ด้วยกันแต่ก็มิได้ทรงทำร้ายอินทรีย์ทอดพระเนตรกันด้วยความโลภ...ต่างก็ประพฤติพรหมจรรย์
จับเสือมือเปล่า
การทำเงินเเบบ "จับเสือมือเปล่า" เป็นอย่างไร? จับเสื้อมือเปล่าเเตกต่างกับเสือนอนกินอย่างไร? การจับเสือมือเปล่าต้องทำอย่างไร? โภคะเกิดแก่ผู้มีบุญ สิริชาดก
มณิโจรชาดก ชาดกว่าด้วยพระเจ้าอธรรมิกราช
พ้นพรรษาฤดูหนึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร อันพระเจ้าพิมพิสารถวายให้ พระองค์ทรงปรารภ พระเทวทัตผู้พยายามปลงพระชนม์แก่ภิกษุสงฆ์ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลายเทวทัตพยามยามฆ่าเรา ใช่ว่าแต่ครั้งนี้ก็หาไม่ แม้ครั้งก่อนก็พยามยามฆ่าเรามาแล้ว”
บูชายัญ บูชายัญคืออะไร บูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
บูชายัญคืออะไร คนเราจะโชคดีจากการเข่นฆ่า ทำร้ายผู้อื่น บูชายัญได้หรือไม่ การบูชายัญในทางพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
ประวัติย่อพระพุทธเจ้า 28 พระองค์
ประวัติย่อพระพุทธเจ้า พระพุทธประวัติ พระพุทธเจ้า 28 พระองค์
วิสาขามหาอุบาสิกา (มหาปราสาท)
พระเจ้ามหาปนาทนั้นมีปราสาทล้วนแล้วไปด้วยทอง กว้าง ๑๖ ชั่วธนูตก สูง ๑ พันชั่วธนู และปราสาทนั้นมีพื้น ๗ ชั้น ประกอบไปด้วยธง สำเร็จด้วยแก้วมีสีเขียว มีนางฟ้อน ๖ พัน แบ่งออกเป็น ๗ พวก ฟ้อนรำอยู่ในปราสาทนั้น
วิสาขามหาอุบาสิกา (สุเมธายอดนารี)
ดิฉันเข้าอยู่ประจำอุโบสถ อันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ตลอดดิถีที่ ๑๔, ๑๕ และดิถีที่ ๘ แห่งปักษ์ และตลอดปาฏิหาริยปักษ์ ดิฉันสำรวมแล้วในศีลทุกเมื่อ ข้าแต่พระฤๅษี ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคำเท็จ ขอศีรษะของดิฉัน จงแตกเป็น ๗ เสี่ยง
วิสาขามหาอุบาสิกา (อดีตชาติของวิสาขา).
บุคคลในโลกนี้ ตั้งใจไว้ชอบ กล่าววาจาชอบ งานชอบด้วยกาย ผู้มีการสดับมาก ทำบุญไว้มาก ในชีวิตอันมีประมาณน้อย ในมนุษยโลกนี้ บุคคลนั้นเป็นผู้มีปัญญา เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสวรรค์
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน
วัดโมลีโลกยาราม ราชวรวิหาร
ประวัติ วัดโมลีโลกยาราม ผู้สร้างและผู้ปฏิสังขรณ์ ประวัติ วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร รวบรวมเรียบเรียงโดย พระเมธีวราภรณ์ (สุทัศน์ ป.ธ.๙)